ธรรม และเพลงบูชา :

บทสวดพระสะหัสสะนัย เวอร์คาราโอเกะ

บทสวดพระสะหัสสะนัย เวอร์คาราโอเกะ
 บทสวดพระสะหัสสะนัย เวอร์คาราโอเกะ

บทสวดพระสะหัสสะนัยนี้
                   มีความหมายที่ลึกซึ่งมากมาย เอาโดยย่อก็แล้วกัน เป็นเรื่องที่กล่าวถึง  กุศลและอกุศล อัพยากฤตธรรม และธรรมอันเป็นเครื่องสังหารกิเลส ด้วยการภาวนา การปฎิบัติ ตน    ไปตามองค์แห่งฌาณ และถูมิแห่งฌาณ ที่ 1 ถึงที่ 5 อันประกอบไปด้วยด้วย วิตก ,วิจารณ์ ,ปิติ , สุข , เอตักคะตารมณ์ ในการแสดงธรรมในครั้งนี้ของพระพุทธองค์ มิได้แสดงแก่ ท่านท้าวสักกะเทวราชเท่านั้น..ยังมี พรหม และมหาพรหม  อีกเป็นจำนวน แสนโกฎิ ( 1 โกฏิ =10ล้าน) ซึ่ง พรหมเล่านี้ เป็นผู้ทรงซึ่ง ได้ฌาณ และสมาบัติ ได้เสด็จลงมาจากพรหมโลก มาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าจึงยังธรรมเทศนาพระธรรมบทนี้ ขึี้นมา กลารแสดงธรรมในครั้งนี้ เหล่าพรหมทั้งหลาย พร้อมทั้งเทวดา ได้บรรลุธรรม ตามขั้นตามภูมิถึง 840000 โกฎิ ในอรรถกถา กล่าวไว้เช่นนั้น  พระพุทธองค์ทรงตรัส ต่อไปว่า กามภพก็ตาม หมายถึง มนุษย์จนถึงเทวโลกทั้ง 6 ชั้น ที่ยังอยู่ใน กามภพ พรหมในชั่นต่าง ๆ ที่ได้ฌาณสมาบัติไม่เหมือนกัน ในยามละสังขาร ย่อมไปเกิดในพรหมโลกที่ต่างกัน ฌาณเหล่านี้ยังติดด้วย กามที่ละเอียด (การเสวยสุขที่ละเอียด) และปราณีต 
1) การปฏิบัติ ลำบาก(การทรมานอยู่ในป่าในเขาการทรมานร่างกายจิตใจด้วยสมาธิ แบบพวกฝึกทางด้านเตวิโช และ ฉฬภิญโญ) แต่รู้ธรรมได้ช้า 
2) การปฏิบัติ ลำบาก(การทรมานอยู่ในป่าในเขาการทรมานร่างกายจิตใจด้วยสมาธิ เตวิโช และ ฉฬภิญโญ)  แต่บรรลุธรรมได้ง่าย
3) การปฏิบัติ แบบสบาย( แบบ สุกขวิปัสสโก ใช้อารมณ์ ฌาณ ขั้นต่ำ ๆ ในการ ดำรงสติโดยรู้พร้อมในกายะสังขารทั้งปวง ที่จะละกิเลส แต่ทำได้ยาก เพราะความสุขสบายที่ตนเองได้รับ จึงมองไม่เห็น ความหลงที่ตนเองติดอยู่กับความสบาย) จึงบรรลุธรรมได้ ยาก เพราะขาดการพิจารณ์ อย่างแท้จริง ใน สุขเวทนานั้น
4 ) การปฏิบัติ แบบสบาย( แบบ สุกขวิปัสสโก ใช้อารมณ์ ฌาณ ขั้นต่ำ ๆ ในการ ดำรงสติโดยรู้พร้อมในกายะสังขารทั้งปวง ที่จะละกิเลส มีจิตพิจารณาในจิตและธรรมตลอด ) มีความเป็นอยุู่ที่สบาย คือ อากาศสบาย สถานที่สบาย อาหารการกินหาได้ง่าย เป็นต้น ย่อมบรรลุธรรมได้ง่าย

5) กล่าวถึง เรื่อง ฌาณ ทั้ง 4 ในการปฎิบัติ และอิทธิบาททั้ง 4 ที่ต้องเจริญ คือ ฉันทะ  วิริยะ  จิตตะ  วิมังสา ที่มีความพอดีกับการปฎิบัติ
ฉันทะ (ความพอใจ) ปฎิบัติ หรือปฎิปทาให้ลำบาก แต่รู้ธรรมช้า
ฉันทะ (ความพอใจ) ปฎิบัติ หรือปฎิปทาให้ลำบาก  แต่รู้ธรรมเร็ว
ฉันทะ (ความพอใจ) ปฎิบัติ หรือปฎิปทาสบาย แต่รู้ธรรมช้า
ฉันทะ (ความพอใจ) ปฎิบัติ หรือปฎิปทาสบาย แต่รู้ธรรมเร็ว
วิริยะ  จิตตะ  วิมังสา ก็เหมือนข้อ ฉันทะ  
ในเรื่อง พระสะหัสสะนัย นี้ พระพุทธองค์ทรงเน้นเทศนาให้กับพรหมฟัง ซะส่วนมาก แต่ในที่ประชุมนี้ ก็มีเทวดาเป็นจำนวนมากเช่นกัน เทวดา ส่วนหนึ่ง สำเร็จ มรรคผล จนถึงพระอรหันต์ เทวดา บางส่วน ได้ บรรลุ เป็นพรหม เทวดาบางส่วนได้ เลื่อนขึ้นไปสู่สวรรค์ชั่นที่สูงขึ้น จากตนเองที่เป็นอยู่ ขอ้ขียนโดยย่อแต่เพียงเท่านี้
                                                                เขียนโดย
                                                          โกปิโก้ โกยารักษ์
ผิดพลาดประการใด ๆ ขออภัยกับท่านผู้รู้ทั้งหลาย แต่ว่าโดย ประมาณย่อคงไม่หนีไปจากที่เขียนไปมากนัก เพราะไม่ได้เรียนบาลีมา
บทสวด
“สุทธิกะปะฎิปะทา”

(กุสะลา  ธัมมา  อะกุสะลา  ธัมมา  อัพยากะตา  ธัมมา)
    กะตะเม  ธัมมา  กุสะลา  ยัสมิง  สะมะเย  โลกุตตะรัง  ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง  
ปะหานายะ   ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิวิจเจวะ   กาเมหิ  
ปะฐะมัง   ฌานัง   อุปะสัมปัชชะ   วิหะระติ   
ทุกขาปะฎิปะทัง    ทันธาภิญญัง   ทุกขาปะฎิปะทัง ขิปปาภิญญัง
สุขาปะฎิปะทัง  ทันธาภิญญัง  สุขาปะฎิปะทัง ขิปปาภิญญัง
ตัสมิง   สะมะเย  ผัสโส  โหติ  อะวิกเขโป  โหติ   อิเม  ธัมมา   กุสะลา
    กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัสมิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง  
ภาเวติ นิยยานิกัง อะปะจะยะคามิง ทิฎฐิคะตานัง ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ ภูมิยา ปัตติยา วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา ทุติยัง 
ฌานัง ตะติยัง ฌานัง จะตุตถัง ฌานัง ปะฐะมัง  ฌานัง ปัญจะมัง 
ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฎิปะทัง ทันธาภิญญัง 
ทุกขาปะฎิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุขาปะฎิปะทัง ทันธาภิญญัง 
สุขาปะฎิปะทัง ขิปปาภิญญัง ตัสมิง สะมะเย ผัสโส โหติ 
อะวิกเขโป โหติ  อิเม ธัมมา กุสะลาฯ

“สุญญะตะมูละกะปะฎิปะทา”

    กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัสมิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง   ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิวิจเจวะ   กาเมหิ   ปะฐะมัง   ฌานัง  
อุปะสัมปัชชะ   วิหะระติ   ทุกขาปะฎิปะทัง    ทันธาภิญญัง    สุญญะตัง 
 ทุกขาปะฎิปะทัง    ขิปปาภิญญัง     สุญญะตัง   สุขาปะฎิปะทัง   ทันธา
ภิญญัง   สุญญะตัง สุขาปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง    สุญญะตัง    ตัสมิง 
 สะมะเย ผัสโส  โหติ  อะวิกเขโป  โหติ   อิเม  ธัมมา   กุสะลา
    กะตะเม  ธัมมา  กุสะลา  ยัสมิง  สะมะเย  โลกุตตะรัง  ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง   ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา   ทุติยัง 
ฌานัง  ตะติยัง  ฌานัง   จะตุตถัง  ฌานัง  ปะฐะมัง  ฌานัง   ปัญจะมัง 
ฌานัง    อุปะสัมปัชชะ    วิหะระติ    ทุกขาปะฎิปะทัง    ทันธาภิญญัง 
สุญญะตัง  ทุกขาปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง   สุญญะตัง   สุขาปะฎิปะทัง
 ทันธาภิญญัง    สุญญะตัง   สุขาปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง  สุญญะตัง 
ตัสมิง   สะมะเย   ผัสโส  โหติ  อะวิกเขโป  โหติ   อิเม  ธัมมา   กุสะลาฯ

“อัปปะณิหิตะปะฎิปะทา”

    กะตะเม  ธัมมา  กุสะลา  ยัสมิง  สะมะเย   โลกุตตะรัง   ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง   ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิวิจเจวะ   กาเมหิ   ปะฐะมัง   ฌานัง  
อุปะสัมปัชชะ   วิหะระติ   ทุกขาปะฎิปะทัง    ทันธาภิญญัง    อัปปะณิหิตัง 
 ทุกขาปะฎิปะทัง  ขิปปาภิญญัง   อัปปะณิหิตัง   สุขาปะฎิปะทัง   ทันธา
ภิญญัง   อัปปะณิหิตัง  สุขาปะฎิปะทัง    ขิปปาภิญญัง    อัปปะณิหิตัง   
ตัสมิง   สะมะเย ผัสโส  โหติ  อะวิกเขโป  โหติ   อิเม  ธัมมา   กุสะลา
    กะตะเม  ธัมมา  กุสะลา  ยัสมิง  สะมะเย  โลกุตตะรัง  ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง   ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา   ทุติยัง  ฌานัง 
 ตะติยัง  ฌานัง   จะตุตถัง  ฌานัง ปะฐะมัง  ฌานัง   ปัญจะมัง  ฌานัง 
อุปะสัมปัชชะ   วิหะระติ   ทุกขาปะฎิปะทัง   ทันธาภิญญัง  อัปปะณิหิตัง 
ทุกขาปะฎิปะทัง    ขิปปาภิญญัง  อัปปะณิหิตัง  สุขาปะฎิ
ปะทัง   ทันธาภิญญัง   อัปปะณิหิตัง    สุขาปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง 
อัปปะณิหิตัง  ตัสมิง   สะมะเย   ผัสโส  โหติ  อะวิกเขโป  โหติ   อิเม 
ธัมมา   กุสะลาฯ

“อะธิปะติ”
    กะตะเม  ธัมมา  กุสะลา  ยัสมิง  สะมะเย  โลกุตตะรัง  ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง   ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิวิจเจวะ   กาเมหิ   ปะฐะมัง   ฌานัง  
อุปะสัมปัชชะ   วิหะระติ   ทุกขาปะฎิปะทัง    ทันธาภิญญัง    ฉันทาธิ
ปัตเตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง   จิตตาธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง  
ทุกขาปะฎิปะทัง    ขิปปาภิญญัง     ฉันทาธิปัตเตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง  
จิตตาธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง   สุขาปะฎิปะทัง   ทันธาภิญญัง  
ฉันทาธิปัตเตยยัง    วิริยาธิปัตเตยยัง     จิตตาธิปัตเตยยัง    วิมังสาธิ
ปัตเตยยัง   สุขาปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง   ฉันทาธิปัตเตยยัง   วิริยาธิ
ปัตเตยยัง   จิตตาธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง   ตัสมิง   สะมะเย 
 ผัสโส  โหติ  อะวิกเขโป  โหติ   อิเม  ธัมมา   กุสะลา
    กะตะเม  ธัมมา  กุสะลา  ยัสมิง  สะมะเย  โลกุตตะรัง  ฌานัง  
ภาเวติ  นิยยานิกัง   อะปะจะยะคามิง   ทิฎฐิคะตานัง   ปะหานายะ  
ปะฐะมายะ   ภูมิยา   ปัตติยา   วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา   ทุติยัง  ฌานัง 
 ตะติยัง  ฌานัง   จะตุตถัง  ฌานัง ปะฐะมัง  ฌานัง   ปัญจะมัง  ฌานัง 
อุปะสัมปัชชะ   วิหะระติ   ทุกขาปะฎิปะทัง   ทันธาภิญญัง    ฉันทาธิปัต
เตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง   จิตตาธิปัตเตยยัง    วิมังสาธิปัตเตยยัง  ทุกขา
ปะฎิปะทัง    ขิปปาภิญญัง    ฉันทาธิปัตเตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง   จิตตา
ธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง  สุขาปะฎิปะทัง  ทันธาภิญญัง    ฉันทาธิ
ปัตเตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง   จิตตาธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง   สุขา
ปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง   ฉันทาธิปัตเตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง   จิตตาธิ
ปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง  (อะทุกขะมะสุขาปะฎิปะทัง   ทันธาภิญญัง 
ฉันทาธิปัตเตยยัง   วิริยาธิปัตเตยยัง   จิตตาธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง  
อะทุกขะมะ   สุขาปะฎิปะทัง   ขิปปาภิญญัง   ฉันทาธิปัตเตยยัง   วิริยาธิปัต
เตยยัง   จิตตาธิปัตเตยยัง   วิมังสาธิปัตเตยยัง)   ตัสมิง   สะมะเย   ผัสโส  โหติ 
อะวิกเขโป  โหติ   อิเม  ธัมมา   กุสะลาฯ

Share this article :

แสดงความคิดเห็น

 
Support : Creating Website | Johny Template | Mas Template
Copyright © 2011. มหาเทพ - All Rights Reserved
Template Created by Creating Website Published by Mas Template
Proudly powered by Blogger