พระครูพุทธบทเจติยารักษ์ (พระครูบาพรชัย ปิยะวัณโณ)
วัดพระพุทธบาทสี่รอย อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
ความเป็นมาของมหาศิลาเปรต
ย้อนไปในอดีตกาลอันไกลโพ้น นับได้ ๙๒ กัป ที่ล่วงมาแล้ว
ได้มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง สมัยนั้นนั่นแล
ทรงพระนามว่า “พระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า”
เสด็จอุบัติขึ้นในโลก เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ ให้ล่วงพ้นวัฏฏสงสาร
เฉกเช่นเดียวกับพระสมณโคดมพุทธเจ้าของเราในปัจจุบันสมัยนี้
ในครั้งนั้นบังเกิดมีพระสาวกองค์หนึ่งในพระวิปัสสีพุทธเจ้า
มีฐานะเป็นพระสังฆนายก ปกครองพระภิกษุเถรานุเถระเป็นอันมาก
แต่พระสังฆนายกองค์นี้ กลับแสวงหาปัจจัยทั้งสี่
อันได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจัย มากเกินสมควร
ได้มีคำสั่งออกไปทั่วสังฆมณฑลว่า
“วัดของเรานี้ไม่เหมือนวัดอื่นๆ
ด้วยเป็นที่ชุมนุมของพระมหาเถระเจ้าทั้งหลายอยู่เป็นเนืองนิตย์
ฉะนั้นขอให้พระภิกษุทั้งหลาย
จงนำเอาปัจจัยสี่อันเป็นของสงฆ์ทั้งหลาย
อันได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัย
รวมทั้งแก้วแหวนเงินทองทั้งปวงมาให้แก่วัดของเรา
เพื่อว่าเราจะได้นำมาถวายทาน แก่พระมหาเถระเจ้าทั้งหลายต่อไป”
เมื่อพระภิกษุทั้งหลายได้รับคำสั่งของพระสังฆนายกดังนี้แล้ว
ต่างก็ล้วนลำบากใจ แต่ไม่กล้าทักท้วงคัดค้าน ด้วยเกรงจะมีความผิด
คงได้แต่จำใจนำของมามอบให้ที่วัดของพระสังฆนายก
จนเต็มโบสถ์เต็มวิหารไปหมด
ท้ายที่สุดเมื่อพระสังฆนายกองค์นั้นได้มรณภาพลงไปแล้ว
ก็ได้ตกนรก จมลงไปหมกไหม้อยู่ในอบายภูมิทั้ง ๔ ตลอดกาลนาน
ด้วยผลกรรมที่ได้เบียดเบียนพระสงฆ์ทั้งหลายให้ต้องได้รับความลำบาก
เมื่อชดใช้กรรมในนรกแล้ว อดีตพระสังฆนายกองค์นั้น
ก็ได้เกิดมาเป็นเปรต มีนามว่า “มหาศิลาลวงใหญ่” (เปรตหิน)
พูดวาจาใดใดไม่ได้ ด้วยสรีระกลายเป็นหิน
พระพุทธเจ้ากกุสันโธ เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรต
และทรงเมตตาประทับรอยพระพุทธบาทไว้
เหนือหินมหาศิลาเปรตเป็นรอยแรก โดยทรงเมตตาประทานให้เอง
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จนกาลเวลาได้ล่วงเลยมาถึง ๙๒ กัป
ลุถึงสมัย “พระพุทธเจ้ากกุสันโธ”
ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ ๑ ในมหาภัทรกัปนี้
พระพุทธเจ้าพระองค์นั้นก็ได้เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรตแล้ว
จึงทรงประทับรอยพระบาทไว้เหนือก้อนหินมหาศิลาเปรตนั้นเป็นรอยแรก
และทรงมีพระมหากรุณาตรัสสอนมหาศิลาเปรต
และให้ภาวนาบริกรรมคาถาว่า “อัปปะกิจโจ อัปปะกิจโจ”
ซึ่งหมายถึง เป็ยนักบวชควรทำตนเป็นผู้มีภาระน้อย ให้มหาศิลาเปรตนั้น
ภาวนาบริกรรมคาถาว่า “อัปปะคัพโภ อัปปะคัพโภ”
ด้วยทรงมีพระมหากรุณาให้พ้นจากความเป็นหิน
แล้วจึงได้ทรงประทับรอยพระบาท
ซ้อนไว้ในรอยพระบาทของพระพุทธเจ้าทั้งสองพ
เพราการมีภาระมากไม่ใช่ทางบรรลุมรรคผลนิพพาน
จะกลายมาเป็นมารมาผูกมัดจิตใจ
ทำให้ตนต้องได้ตกอยู่ในอบายภูมิ
พระพุทธเจ้าโกนาคมโน เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรต
และทรงเมตตาประทับรอยพระพุทธบาทเป็นรอยที่ ๒
โดยทรงประทานให้เอง ซ้อนรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้ากกุสันโธ
ภายหลังที่พระพุทธเจ้ากกุสันโธได้เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว
พระองค์ก็ได้เสด็จมาที่มหาศิลาเปรต
ให้ภาวนาบริกรรมคาถาว่า “สัลละหุกะวุตติ” ไปตลอด
จะได้หลุดพ้นจากความเป็นเปรตในภายภาคหน้า
จากนั้นพระพุทธเจ้าโกนาคมโนก็ได้ประทับรอยพระบาทซ้อนไว้
ในรอยพระบาทของพระพุทธเจ้ากกุสันโธเป็นรอยที่ ๒
(ซึ่งมีขนาดเล็กกว่ารอยที่ ๑)
พระพุทธเจ้ากัสสโป เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรต
และทรงเมตตาประทับรอยพระพุทธบาท เป็นรอยที่ ๓
โดยประทานให้เอง ซ้อนรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าทั้ง ๒ พระองค์
ในมหาภัทรกัปนี้
ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าโกนาคมโน ได้เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว
ก็มาถึงสมัย พระพุทธเจ้ากัสสโป
ซึ่งพระองค์ก็ได้เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรต
ด้วยเหตุผล ๒ ประการ คือ
เพื่อทรงชี้แนวทางตรงไปสู่พระนิพานหนึ่ง
และเพื่อให้มหาศิลาเปรตนั้น พ้นจากปิติวิสัย (ภูมิแห่งเปรต) อีกประการหนึ่ง
พระพุทธเจ้ากัสสโป จึงเสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรตเป็นพระองค์ที่ ๓
และได้ทรงมีระพุทธดำรัสตรัสชี้แนะระองค์
ปรากฏเป็นรอยที่ ๓ ขึ้นมา (ซึ่งมีขนาดเล็กกว่ารอยพระพุทธบาททั้ง ๒ รอย)
พระอุโบสถ
พระพุทธเจ้าโคตโม (พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน)
เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรต
ณ เวภารบรรพต (วัดพระพุทธบาทสี่รอย ในปัจจุบันนี้)
และทรงเมตตาประทับรอยพระพุทธบาทเป็นรอยที่ ๔
โดยประทานให้เอง ซ้อนรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์
ในมหาภัทรกัปนี้
ภายหลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสโป ได้เสด็จดับขันธปรินิพานไปแล้ว
ก็มาถึงพุทธสมัยแห่งพระศาสนาของ พระพุทธเจ้าโคตโม (พระสมณโคดม)
ได้เสด็จจาริกประกาศธรรมโปรดเวไนยสัตว์
ไปตามสถานที่ต่างๆ พร้อมด้วยพุทธสาวก ๕๐๐ องค์
อันมี พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ และพระอานนท์ เป็นต้น
จนกระทั่งเสด็จมายัง ปัจจันตยประเทศ (ประเทศไทยในปัจจุบัน)
ถึงเทือกเขาตอนเหนือของประเทศชื่อ เวภารบรรพต (สถานที่แห่งนี้)
และได้แวะเสวยจังหันอยู่บนเขาเวภารบรรพตแห่งนี้
เมื่อพระพุทธองค์เสวยจังหันสร็จ
ขณะประทับอยู่ที่นั่น ก็ได้ทรงทราบด้วยพระญาณสมบัติว่า
ในเทือกเขาแห่งนี้ ได้มีรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า
ที่มาตรัสรู้ก่อนในภัทรกัปนี้ประทับอยุ่บนก้อนหินก้อนใหญ่
พระองค์ก็ทรงเล็งดูรอยพระพุทธบาทแห่งพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์
คือ พระพุทธเจ้ากกุสันโธ พระพุทธเจ้าโกคมโน พระพุทธเจ้ากัสสโป
ในวาระนั้น พระพุทธเจ้าโคตโม
ได้มีพระพุทธดำรัสกับพระอานนท์ว่า
“ดูกร อานนท์ ก้อนศิลาอันงามวิเศษ
ที่เป็นเหตุแห่งการโปรดสัตว์ทั้งหลายยังปรากฏมีอยู่ฤา”
พระอานนท์ พุทธอุปัฏฐาก จึงกราบทูลว่า
“ภันเต ภะคะวา ก้อนหินนี้มีรอยพระพุทธบาทใหญ่ ๓ รอย
งดงามยิ่งนัก เหมือนรอยพระพุทธบาทของพระศาสดาพระพุทธเจ้าข้า”
จากนั้น พระพุทธเจ้าโคตโม
จึงได้ตรัสถึงอดีตกาลที่ได้ผ่านมาแล้วแต่ปางบรรพ์
แก่พระอานนท์และพุทธสาวกว่า
“ดูกรอานนท์ ก้อนศิลานี้มิใช่ศิลาแท้จริงดอก
แต่เป็นก้อนอสุราที่กลับกลายเป็นก้อนศิลา (เป็นศิลาเปรต)
ศิลานี้เคยเป็นพุทธสาวกในพระพุทธเจ้า วิปัสสี
สมัยนั้นท่านเป็นพระสังฆนายก ถืออำนาจบาตรใหญ่
บังคับเอาของของคนอื่นมาเป็นของตน
ตนเองเป็นพระภิกษุ แต่มักมาก ถือว่าตนเองฉลาด
คิดว่าตนเองได้ของมาโดยบริสุทธิ์
โดยมิได้คำนึงถึงความผิดถูกตามพระธรรมวินัย
ถือว่าตนเองเป็นศิษย์ของพระพุทธเจ้า
และเป็นใหญ่ เอาของของสงฆ์มาใช้ตามอำเภอใจ
จึงทำให้เป็นศิลาเปรตอยู่ในบัดนี้
พระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์ที่ล่วงมาแล้วในอดีตกาล
ได้ทรงประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ณ ที่นี้ ทุกพระองค์
และแม้ พระศรีอริยเมตไตรย
ก็จะเสด็จมาประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ณ ที่นี้
และจักประทับรอยพระพุทธบาทสี่รอยนี้ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียว
(คือ ประทับลบทั้งสี่รอยให้เหลือรอยเดียว)”
เสด็จมาโปรดมหาศิลาเปรต
ณ เวภารบรรพต (วัดพระพุทธบาทสี่รอย ในปัจจุบันนี้)
และทรงเมตตาประทับรอยพระพุทธบาทเป็นรอยที่ ๔
โดยประทานให้เอง ซ้อนรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์
ในมหาภัทรกัปนี้
ภายหลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสโป ได้เสด็จดับขันธปรินิพานไปแล้ว
ก็มาถึงพุทธสมัยแห่งพระศาสนาของ พระพุทธเจ้าโคตโม (พระสมณโคดม)
ได้เสด็จจาริกประกาศธรรมโปรดเวไนยสัตว์
ไปตามสถานที่ต่างๆ พร้อมด้วยพุทธสาวก ๕๐๐ องค์
อันมี พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ และพระอานนท์ เป็นต้น
จนกระทั่งเสด็จมายัง ปัจจันตยประเทศ (ประเทศไทยในปัจจุบัน)
ถึงเทือกเขาตอนเหนือของประเทศชื่อ เวภารบรรพต (สถานที่แห่งนี้)
และได้แวะเสวยจังหันอยู่บนเขาเวภารบรรพตแห่งนี้
เมื่อพระพุทธองค์เสวยจังหันสร็จ
ขณะประทับอยู่ที่นั่น ก็ได้ทรงทราบด้วยพระญาณสมบัติว่า
ในเทือกเขาแห่งนี้ ได้มีรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า
ที่มาตรัสรู้ก่อนในภัทรกัปนี้ประทับอยุ่บนก้อนหินก้อนใหญ่
พระองค์ก็ทรงเล็งดูรอยพระพุทธบาทแห่งพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์
คือ พระพุทธเจ้ากกุสันโธ พระพุทธเจ้าโกคมโน พระพุทธเจ้ากัสสโป
ในวาระนั้น พระพุทธเจ้าโคตโม
ได้มีพระพุทธดำรัสกับพระอานนท์ว่า
“ดูกร อานนท์ ก้อนศิลาอันงามวิเศษ
ที่เป็นเหตุแห่งการโปรดสัตว์ทั้งหลายยังปรากฏมีอยู่ฤา”
พระอานนท์ พุทธอุปัฏฐาก จึงกราบทูลว่า
“ภันเต ภะคะวา ก้อนหินนี้มีรอยพระพุทธบาทใหญ่ ๓ รอย
งดงามยิ่งนัก เหมือนรอยพระพุทธบาทของพระศาสดาพระพุทธเจ้าข้า”
จากนั้น พระพุทธเจ้าโคตโม
จึงได้ตรัสถึงอดีตกาลที่ได้ผ่านมาแล้วแต่ปางบรรพ์
แก่พระอานนท์และพุทธสาวกว่า
“ดูกรอานนท์ ก้อนศิลานี้มิใช่ศิลาแท้จริงดอก
แต่เป็นก้อนอสุราที่กลับกลายเป็นก้อนศิลา (เป็นศิลาเปรต)
ศิลานี้เคยเป็นพุทธสาวกในพระพุทธเจ้า วิปัสสี
สมัยนั้นท่านเป็นพระสังฆนายก ถืออำนาจบาตรใหญ่
บังคับเอาของของคนอื่นมาเป็นของตน
ตนเองเป็นพระภิกษุ แต่มักมาก ถือว่าตนเองฉลาด
คิดว่าตนเองได้ของมาโดยบริสุทธิ์
โดยมิได้คำนึงถึงความผิดถูกตามพระธรรมวินัย
ถือว่าตนเองเป็นศิษย์ของพระพุทธเจ้า
และเป็นใหญ่ เอาของของสงฆ์มาใช้ตามอำเภอใจ
จึงทำให้เป็นศิลาเปรตอยู่ในบัดนี้
พระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์ที่ล่วงมาแล้วในอดีตกาล
ได้ทรงประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ณ ที่นี้ ทุกพระองค์
และแม้ พระศรีอริยเมตไตรย
ก็จะเสด็จมาประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ณ ที่นี้
และจักประทับรอยพระพุทธบาทสี่รอยนี้ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียว
(คือ ประทับลบทั้งสี่รอยให้เหลือรอยเดียว)”
เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสแก่สาวกทั้งหลายเสร็จแล้ว
พระองค์ก็เสด็จประทับพระบาทซ้อนรอยพระบาท
ของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์ แล้วก็ทรงอธิษฐานว่า
ในเมื่อกูตถาคตนิพพานไปแล้ว
เทวดาทั้งหลายก็จักนำเอาพระธาตุของกูตถาคต
มาบรรจุไว้ที่รอยพระพุทธบาทนี้
ในเมื่อกูตถาคตนิพพานไปแล้ว ๒,๐๐๐ ปี
พระพุทธบาทสี่รอยนี้ ก็จักปรากฏแก่ปวงมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย
เพื่อมนุษย์และเทวดาทั้งหลายจักได้มากราบไหว้และสักการะบูชา
เมื่อทรงอธิษฐานและทำนายไว้ดังนี้แล้ว
จึงมีรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า ๔ พระองค์
จึงกำเนิดเป็นพระพุทธบาทสี่รอย
เมื่อพระพุทธองค์ทรงประทับรอยพระพุทธบาทแล้ว
ก็เสด็จไปเขตวันอาราม อันมีในเมืองสาวัตถีนั้นแล
เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว
เทวดาทั้งหลายก็นำเอาพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธองค์
มาบรรจุไว้ที่พระพุทธบาทสี่รอย
พระองค์ก็เสด็จประทับพระบาทซ้อนรอยพระบาท
ของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์ แล้วก็ทรงอธิษฐานว่า
ในเมื่อกูตถาคตนิพพานไปแล้ว
เทวดาทั้งหลายก็จักนำเอาพระธาตุของกูตถาคต
มาบรรจุไว้ที่รอยพระพุทธบาทนี้
ในเมื่อกูตถาคตนิพพานไปแล้ว ๒,๐๐๐ ปี
พระพุทธบาทสี่รอยนี้ ก็จักปรากฏแก่ปวงมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย
เพื่อมนุษย์และเทวดาทั้งหลายจักได้มากราบไหว้และสักการะบูชา
เมื่อทรงอธิษฐานและทำนายไว้ดังนี้แล้ว
จึงมีรอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า ๔ พระองค์
จึงกำเนิดเป็นพระพุทธบาทสี่รอย
เมื่อพระพุทธองค์ทรงประทับรอยพระพุทธบาทแล้ว
ก็เสด็จไปเขตวันอาราม อันมีในเมืองสาวัตถีนั้นแล
เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว
เทวดาทั้งหลายก็นำเอาพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธองค์
มาบรรจุไว้ที่พระพุทธบาทสี่รอย
[พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕]
พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕]
ต่อมา พระชายาเจ้าดารารัศมี
ได้เสด็จขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
และได้มีศรัทธาสร้างวิหารเพื่อเป็นการสักการบูชารอยพระพุทธบาทไว้ ๑ หลัง
หลังเล็กถวายเป็นพุทธบูชา
ปัจจุบันได้บูรณะปฏิสังขรณ์แล้วทั้งหลัง
จะเหลือไว้แต่ผนังวิหาร พื้นวิหาร และแท่นพระ ซึ่งยังเป็นของเดิมอยู่
ถ้าหากท่านมีโอกาสขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
ก็จะเห็นวิหารแห่งนี้
นอกจากนี้ หลักฐานในกาลวัตถุที่สำคัญยิ่งอีกประการหนึ่ง ได้เสด็จขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
และได้มีศรัทธาสร้างวิหารเพื่อเป็นการสักการบูชารอยพระพุทธบาทไว้ ๑ หลัง
หลังเล็กถวายเป็นพุทธบูชา
ปัจจุบันได้บูรณะปฏิสังขรณ์แล้วทั้งหลัง
จะเหลือไว้แต่ผนังวิหาร พื้นวิหาร และแท่นพระ ซึ่งยังเป็นของเดิมอยู่
ถ้าหากท่านมีโอกาสขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
ก็จะเห็นวิหารแห่งนี้
ได้ปรากฏอยู่ในหนังสือโบราณ “คำให้การของขุนหลวงหาวัด”
ซึ่งเป็นหนังสือบันทึกเรื่องราวของกรุงศรีอยุธยา ตั้งแต่ต้นจนอวสาน
ที่ พระเจ้ามังระ กษัตริย์พม่ามีพระบัญชา
ให้อาลักษณ์บันทึกจากถ้อยรับสั่งของ เจ้าฟ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด)
ภายหลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ไว้อย่างละเอียด
โดยตอนหนึ่ง ได้กล่าวถึงเมื่อคราวที่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เสด็จไปทรงนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
(สมัยโบราณเรียก รอยพระบาทรังรุ้ง หรือ รอบพระบาทเขารังรุ้ง)
ไว้อย่างชัดเจนว่า
“สมัยสมเด็จพระนเรศวรยกทัพไปรบที่เมืองหาง
พระองค์ทรงทราบว่ามีรอยพระพุทธบาทอยู่บนยอดเขา
เรียกว่า เขารังรุ้ง จึงได้เสด็จขึ้นไปนมัสการ
ทรงเปลื้องเครื่องทรง ทั้งสังวาลย์และภูษาแล้ว
ทรงถวายไว้ในรอยพระพุทธบาท
และทำสักการบูชาด้วย ธง ธูป เทียน ข้าวตอกดอกไม้
มีเครื่องทั้งปวงเป็นอันมาก แล้วจึงทำการพิธีสมโภชอยู่ถึง เจ็ดราตรี”
จากข้อความประวัติศาสตร์ดังกล่าวนี้เอง
ทำให้เราได้ทราบข้อเท็จจริงในทางโบราณคดี เพิ่มเติมอีกประการหนึ่งว่า
โดยแท้จริงแล้ว รอยพระพุทธบาทในประเทศไทยรอยแรก
ที่คนไทยได้รู้จักและมักคุ้นนั้นก็คือ พระพุทธบาทสี่รอย
อันประดิษฐานอยู่ ณ เขต อำเภอแม่ริม จ.เชียงใหม่ ในปัจจุบันนี่เอง
ในขณะที่ รอยพระพุทธบาท ที่ สระบุรี เขาสัจจพันธุ์ นั้น
ได้รับการค้นพบเจอในรัชสมัย พระเจ้าทรงธรรม
ซึ่งเป็นยุคหลังรัชสมัยแห่ง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ถึงกว่า ๕ ทศวรรษ
[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย]
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย]
จากสาส์นของ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทยทรงบันทึกไว้ว่า
พระพุทธบาทสี่รอย แห่งนี้ เป็นพระพุทธบาทเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
แม้กรุงศรีอยุธยาก็ยังจำลองรอยพระพุทธบาท
ไปไว้ที่ ปราสาทนครหลวง (วัดจันทร์ลอย) จ.พระนครศรีอยุธยา
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทยทรงบันทึกไว้ว่า
พระพุทธบาทสี่รอย แห่งนี้ เป็นพระพุทธบาทเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
แม้กรุงศรีอยุธยาก็ยังจำลองรอยพระพุทธบาท
ไปไว้ที่ ปราสาทนครหลวง (วัดจันทร์ลอย) จ.พระนครศรีอยุธยา
[ครูบาศรีวิชัย]
พระอริยสงฆ์ที่สำคัญของล้านนาและของประเทศไทย
ที่เคยธุดงค์เพื่อไปกราบสักการบูชารอยพระพุทธบาทสี่รอย
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทย
ก็ได้ขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
และได้รื้อพระวิหารที่ เจ้าพระยาธรรมช้างเผือก สร้างไว้ชั่วคราวนั้นเสีย
แล้วได้สร้างวิหารใหม่ครอบรอยพระพุทธบาทไว้
และได้ฉาบปูนครอบรอยพระพุทธบาทสี่รอย
เพื่อรักษาให้อยู่ค้ำชูพระศาสนาสืบไปตลอดกาลนาน
ด้วยวัดพระพุทธบาทสี่รอย
เป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าถึง ๔ พระองค์
คือ พระพุทธเจ้ากกุสันโธ พระพุทธเจ้าโกนาคมโน
ที่เคยธุดงค์เพื่อไปกราบสักการบูชารอยพระพุทธบาทสี่รอย
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนาไทย
ก็ได้ขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
และได้รื้อพระวิหารที่ เจ้าพระยาธรรมช้างเผือก สร้างไว้ชั่วคราวนั้นเสีย
แล้วได้สร้างวิหารใหม่ครอบรอยพระพุทธบาทไว้
และได้ฉาบปูนครอบรอยพระพุทธบาทสี่รอย
เพื่อรักษาให้อยู่ค้ำชูพระศาสนาสืบไปตลอดกาลนาน
ด้วยวัดพระพุทธบาทสี่รอย
เป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าถึง ๔ พระองค์
คือ พระพุทธเจ้ากกุสันโธ พระพุทธเจ้าโกนาคมโน
พระพุทธเจ้ากัสสโป พระพุทธเจ้าโคตโม (องค์ปัจจุบัน)
[อนุสาวรีย์พระรูปของครูบาศรีวิชัย บริเวณทางขึ้นพระวิหาร วัดพระพุทธบาทสี่รอย]
จึงนับได้ว่า เป็นปูชนียสถานที่มีความสำคัญมาก
เป็นที่สักการบูชาของทั้งมนุษย์และเทวดาทั้งหลาย
พระพุทธบาทสี่รอยนี้ ครูบาอาจารย์ พระธุดงค์กรรมฐาน
สาย ครูบาเจ้าศรีวิชัย หลายองค์ อาทิเช่น
ครูบาหน้อย ชยวํโส วัดบ้านปง, ครูบาอิน อินฺโท วัดฟ้าหลั่ง,
ครูบาอินแก้ว ครูบาดวงดี วัดท่าจำปี,
ครูบาบุญปั๋น ธมฺมปญฺโญ วัดร้องขุ้ม,
ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ฯลฯ
พระอาจารย์ทอง สิริมงฺคโล วัดพระธาตุศรีจอมทอง,
ครูบาเทือง นาถสีโล วัดบ้านเด่น, ครูบาน้อย วัดศรีดอนมูล เป็นต้น
[หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร]
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร
และพระธุดงค์กรรมฐานในสายหลวงปู่มั่น
ได้แก่ หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่,
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดป่าอรัญญวิเวก นครพนม,
หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี วัดหินหมากเป้ง หนองคาย,
หลวงปู่หล้า ตาทิพย์ วัดป่าตึง เชียงใหม่,
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ เลย,
หลวงปู่สิม พุทธจาโร สำนักสงฆ์ถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่,
หลวงปู่จาม, พระอาจารย์เปลี่ยน ปญฺญาปทีโป
และอีกหลายองค์ ในสายพระอาจารย์มั่น
นอกจากนี้ยังมี หลวงปู่สี ฉนทสิริ วัดเขาถ้ำบุญนาค นครสวรรค์
(ได้ยาอายุวัฒนะจากบริเวณป่าใกล้วัดพระพุทธบาทสี่รอย),
หลวงปู่โต๊ะ อินทสุวณฺโณ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร,
และพระธุดงค์กรรมฐานในสายหลวงปู่มั่น
ได้แก่ หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่,
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดป่าอรัญญวิเวก นครพนม,
หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี วัดหินหมากเป้ง หนองคาย,
หลวงปู่หล้า ตาทิพย์ วัดป่าตึง เชียงใหม่,
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ เลย,
หลวงปู่สิม พุทธจาโร สำนักสงฆ์ถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่,
หลวงปู่จาม, พระอาจารย์เปลี่ยน ปญฺญาปทีโป
และอีกหลายองค์ ในสายพระอาจารย์มั่น
นอกจากนี้ยังมี หลวงปู่สี ฉนทสิริ วัดเขาถ้ำบุญนาค นครสวรรค์
(ได้ยาอายุวัฒนะจากบริเวณป่าใกล้วัดพระพุทธบาทสี่รอย),
หลวงปู่โต๊ะ อินทสุวณฺโณ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร,
[หลวงพ่ออุตตมะ อุตฺตมรมฺโภ วัดวังก์วิเวการาม]
หลวงพ่ออุตตมะ อุตฺตมรมฺโภ วัดวังก์วิเวการาม
(ไปธุดงค์ไปองค์เดียวเพื่อไปกราบนมัสการ
เมื่อ ๕๐ กว่าปีมาแล้ว ราว พ.ศ. ๒๔๙๐)
และหลวงพ่อสมควร วัดถือน้ำ นครสวรรค์,
หลวงปู่เมฆ วัดป่าขวางพระเลไลย์ สงขลา
ได้เคยเดินธุดงค์ ขึ้นไปนมัสการมาแล้ว
และได้รับรองว่าเป็นรอยพระพุทธบาทที่แท้จริง
นอกจากนี้ยังได้รับคำยืนยันรับรองของ
หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดอรัญญวิเวก จ.นครพนม
ว่ารอยพระพุทธบาทดังกล่าวเป็นรอยพระพุทธบาทสี่รอย
ของพระพุทธเจ้าทั้ง ๔ พระองค์ในมหาภัทรกัปนี้จริง
และเป็นสัญญลักษณ์แห่งมหาภัทรกัปที่สำคัญสูงสุดในจักรวาล
และรอยพระพุทธบาทสี่รอยนี้ประดิษฐานอยู่ที่
วัดพระพุทธบาทสี่รอย ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
[หลวงปู่สิม พุทธจาโร]
นอกจากนี้ หลวงปู่สิม พุทธจาโร ซึ่งเคยเดินขึ้นไปนมัสการมาแล้วเช่นกัน
ดังธรรมเทศนาของท่านตอนหนึ่ง
(คัดลอกมาจาก หนังสือพุทธาจารานุสรณ์ ที่แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ
หลวงปู่สิม พุทธจาโร สำนักสงฆ์ถ้ำผาปล่อง อำเภอเชียงดาว
จังหวัดเชียงใหม่ พุทธศักราช ๒๕๓๖)
“ในเขตเชียงใหม่นี้ ยังมีพระบาทสี่รอยอยูในเขตอำเภอแม่ริม
แต่ว่าลึกเข้าไปในภูเขา หลวงปู่ผู้เทศน์ปูแล้วกราบไหว้
มันเป็นก้อนหินก้อนใหญ่ เป็นก้อนสี่เหลี่ยมขึ้นไปอยู่ข้างริมแม่น้ำ
พระพุทธเจ้ากกุสันโธได้มาตรัสรู้ในโลก
ท่านก็มาเหยียบรอยพระพุทธบาทไว้
ในยอดหินก้อนนั้น ยาวขนาด ๑๒ ศอก
เมื่อหมดศาสนาพระพุทธเจ้ากกุสันโธแล้ว
พระพุทธเจ้าโกนาคมโน ก็มาตรัสรื้อขนสัตว์ไปอีก
ก็นิพพานท่านก็มาเหยียบไว้ที่พระบาทแม่ริมนี้ เป็นรอยที่สอง (ขนาดลดลงมา)
มาถึงพระสัมสัมพุทธเจ้ากัสสโปมาตรัสรู้
ท่านก็มาเหยียบไว้ได้ ๓ รอย
แลพระพุทธเจ้าโคดมมาตรัสรู้
ก่อนที่ท่านจะนิพพานก็เหยียบรอยพระบาทไว้ในหินก้อนเดียวกัน
จึงให้ชื่อว่าพระพุทธบาทสี่รอย
ยังมีพระศรีอริยเมตไตรยโพธิสัตว์
จะมาตรัสรู้แล้วมาโปรดเวไนยสัตว์ ก็มาเหยียบไว้อีก
เรียกว่าแผ่นดินที่เราเกิดนี้ นับว่าเป็นแผ่นดินที่ร่ำรวยที่สุด
แผ่นดินนี้เรียกว่า ภัทรกัป มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาตรัสรู้ได้ห้าพระองค์
พระพุทธเจ้าองค์ใดมาตรัสสอนก็ตาม
ก็สอนให้มนุษย์และเทวดาทั้งหลายบำเพ็ญทาน รักษาศีล ภาวนา
ละกิเลส ความโกรธ ความโลภ ความหลง อันเก่านี้แหละ
เมื่อใดปฏิบัติภาวนาบารมีเต็มแล้ว ก็รู้แจ้งพระนิพพาน
เมื่อรูปนามแตกดับแล้วไปสู่พระนิพพาน
ไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดในโลกอันแสนทุรกันดารนี้อีกต่อไป”
[นายนิรยบาล-ผู้เฝ้าปากทางสู่นรก : อยู่บริเวณรอยหินแยก (จากฟ้าผ่า)
ด้านข้างพระวิหารครอบรอยพระพุทธบาท]
[พระประธานในพระอุโบสถ วัดพระพุทธบาทสี่รอย]
สถานที่ประดิษฐานของพระพุทธบาทสี่รอยดั้งเดิม
ที่มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานไว้
มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า
ความจริงแล้ว หินก้อนนี้อยู่ที่ป่าหิมพานต์
แต่นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า
หินนั้นได้ตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ส่วนผู้ที่จะกล่าวแก้ ก็ควรที่จะบอกว่า
ป่าก็ดี เขาก็ดีที่มีเมฆหมอกปกคลุมอยู่ไม่ขาดทั้งกลางวันกลางคืน
สถานที่ประดิษฐานของพระพุทธบาทสี่รอยดั้งเดิม
ที่มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานไว้
มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า
ความจริงแล้ว หินก้อนนี้อยู่ที่ป่าหิมพานต์
แต่นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า
หินนั้นได้ตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ส่วนผู้ที่จะกล่าวแก้ ก็ควรที่จะบอกว่า
ป่าก็ดี เขาก็ดีที่มีเมฆหมอกปกคลุมอยู่ไม่ขาดทั้งกลางวันกลางคืน
ที่แห่งนั้น จึงได้ชื่อว่า ป่าหิมพานต์
ธรรมชาติของเปรตทั้งหลายไม่เคยมีตัวตนในเมืองมนุษย์
แต่ธรรมชาติของเปรตทั้งหลาย
ย่อมเกิดเป็นตัวเป็นตนในป่าหิมพานต์เท่านั้น
หากแต่พระอริยสาวกที่มีอิทธิปาฏิหาริย์
ได้อัญเชิญมาด้วยกำลังฤทธิ์
เพื่อที่จักให้เป็นที่กราบไหว้ และสักการะบูชาแก่ชาว “ตามิละ” (ลัวะ)
พวกชาวเขา ลัวะ และคนยาง
หากมารักษาและสักการะรอยพระพุทธบาทแล้ว
ฝนฟ้าก็จะตกต้องตามฤดูกาลเป็นอันดี ด้วยพุทธานุภาพ
และแม้ในกาลอนาคต
พระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้า
ก็จักเสด็จมาประทับรอยพระพุทธบาท
ไว้ที่หินก้อนนี้อีกเป็นรอยที่ ๕
จนล่วงไปอีกราว ๒๐๐๐ ปี
หินก้อนนี้ก็จะแตกสลายลง บังเกิดเป็นมนุษย์ขึ้น
ซึ่งมนุษย์คนนี้จะได้บวชในพระพุทธศาสนา
สำเร็จมรรคผลนิพพานในสมัยพระศาสนา
แห่งพระศรีอริยเมตไตรยพระพุทธเจ้านั่นแลฯ
สถานที่ประดิษฐานของพระพุทธบาทสี่รอยดั้งเดิม
ที่มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานไว้
มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า
ความจริงแล้ว หินก้อนนี้อยู่ที่ป่าหิมพานต์
แต่นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า
หินนั้นได้ตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ส่วนผู้ที่จะกล่าวแก้ ก็ควรที่จะบอกว่า
ป่าก็ดี เขาก็ดีที่มีเมฆหมอกปกคลุมอยู่ไม่ขาดทั้งกลางวันกลางคืน
สถานที่ประดิษฐานของพระพุทธบาทสี่รอยดั้งเดิม
ที่มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานไว้
มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า
ความจริงแล้ว หินก้อนนี้อยู่ที่ป่าหิมพานต์
แต่นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า
หินนั้นได้ตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ส่วนผู้ที่จะกล่าวแก้ ก็ควรที่จะบอกว่า
ป่าก็ดี เขาก็ดีที่มีเมฆหมอกปกคลุมอยู่ไม่ขาดทั้งกลางวันกลางคืน
ที่แห่งนั้น จึงได้ชื่อว่า ป่าหิมพานต์
ธรรมชาติของเปรตทั้งหลายไม่เคยมีตัวตนในเมืองมนุษย์
แต่ธรรมชาติของเปรตทั้งหลาย
ย่อมเกิดเป็นตัวเป็นตนในป่าหิมพานต์เท่านั้น
หากแต่พระอริยสาวกที่มีอิทธิปาฏิหาริย์
ได้อัญเชิญมาด้วยกำลังฤทธิ์
เพื่อที่จักให้เป็นที่กราบไหว้ และสักการะบูชาแก่ชาว “ตามิละ” (ลัวะ)
พวกชาวเขา ลัวะ และคนยาง
หากมารักษาและสักการะรอยพระพุทธบาทแล้ว
ฝนฟ้าก็จะตกต้องตามฤดูกาลเป็นอันดี ด้วยพุทธานุภาพ
และแม้ในกาลอนาคต
พระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้า
ก็จักเสด็จมาประทับรอยพระพุทธบาท
ไว้ที่หินก้อนนี้อีกเป็นรอยที่ ๕
จนล่วงไปอีกราว ๒๐๐๐ ปี
หินก้อนนี้ก็จะแตกสลายลง บังเกิดเป็นมนุษย์ขึ้น
ซึ่งมนุษย์คนนี้จะได้บวชในพระพุทธศาสนา
สำเร็จมรรคผลนิพพานในสมัยพระศาสนา
แห่งพระศรีอริยเมตไตรยพระพุทธเจ้านั่นแลฯ
สถานที่ประดิษฐานของพระพุทธบาทสี่รอยดั้งเดิม
ที่มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานไว้
มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า
ความจริงแล้ว หินก้อนนี้อยู่ที่ป่าหิมพานต์
แต่นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า
หินนั้นได้ตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ส่วนผู้ที่จะกล่าวแก้ ก็ควรที่จะบอกว่า
ป่าก็ดี เขาก็ดีที่มีเมฆหมอกปกคลุมอยู่ไม่ขาดทั้งกลางวันกลางคืน
ที่แห่งนั้น จึงได้ชื่อว่า ป่าหิมพานต์
ธรรมชาติของเปรตทั้งหลายไม่เคยมีตัวตนในเมืองมนุษย์
แต่ธรรมชาติของเปรตทั้งหลาย
ย่อมเกิดเป็นตัวเป็นตนในป่าหิมพานต์เท่านั้น
หากแต่พระอริยสาวกที่มีอิทธิปาฏิหาริย์
ได้อัญเชิญมาด้วยกำลังฤทธิ์
เพื่อที่จักให้เป็นที่กราบไหว้ และสักการะบูชาแก่ชาว “ตามิละ” (ลัวะ)
พวกชาวเขา ลัวะ และคนยาง
หากมารักษาและสักการะรอยพระพุทธบาทแล้ว
ฝนฟ้าก็จะตกต้องตามฤดูกาลเป็นอันดี ด้วยพุทธานุภาพ
และแม้ในกาลอนาคต
พระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้า
ก็จักเสด็จมาประทับรอยพระพุทธบาท
ไว้ที่หินก้อนนี้อีกเป็นรอยที่ ๕
จนล่วงไปอีกราว ๒๐๐๐ ปี
หินก้อนนี้ก็จะแตกสลายลง บังเกิดเป็นมนุษย์ขึ้น
ซึ่งมนุษย์คนนี้จะได้บวชในพระพุทธศาสนา
สำเร็จมรรคผลนิพพานในสมัยพระศาสนา
แห่งพระศรีอริยเมตไตรยพระพุทธเจ้านั่นแลฯ
ที่มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานไว้
มีผู้รู้บางท่านสันนิษฐานว่า
ความจริงแล้ว หินก้อนนี้อยู่ที่ป่าหิมพานต์
แต่นักปราชญ์บางท่านกล่าวว่า
หินนั้นได้ตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ส่วนผู้ที่จะกล่าวแก้ ก็ควรที่จะบอกว่า
ป่าก็ดี เขาก็ดีที่มีเมฆหมอกปกคลุมอยู่ไม่ขาดทั้งกลางวันกลางคืน
ที่แห่งนั้น จึงได้ชื่อว่า ป่าหิมพานต์
ธรรมชาติของเปรตทั้งหลายไม่เคยมีตัวตนในเมืองมนุษย์
แต่ธรรมชาติของเปรตทั้งหลาย
ย่อมเกิดเป็นตัวเป็นตนในป่าหิมพานต์เท่านั้น
หากแต่พระอริยสาวกที่มีอิทธิปาฏิหาริย์
ได้อัญเชิญมาด้วยกำลังฤทธิ์
เพื่อที่จักให้เป็นที่กราบไหว้ และสักการะบูชาแก่ชาว “ตามิละ” (ลัวะ)
พวกชาวเขา ลัวะ และคนยาง
หากมารักษาและสักการะรอยพระพุทธบาทแล้ว
ฝนฟ้าก็จะตกต้องตามฤดูกาลเป็นอันดี ด้วยพุทธานุภาพ
และแม้ในกาลอนาคต
พระศรีอริยเมตไตรยพุทธเจ้า
ก็จักเสด็จมาประทับรอยพระพุทธบาท
ไว้ที่หินก้อนนี้อีกเป็นรอยที่ ๕
จนล่วงไปอีกราว ๒๐๐๐ ปี
หินก้อนนี้ก็จะแตกสลายลง บังเกิดเป็นมนุษย์ขึ้น
ซึ่งมนุษย์คนนี้จะได้บวชในพระพุทธศาสนา
สำเร็จมรรคผลนิพพานในสมัยพระศาสนา
แห่งพระศรีอริยเมตไตรยพระพุทธเจ้านั่นแลฯ
“พระบาท ๔ รอยนี้จะเจริญรุ่งเรืองเมื่อใด”
ผู้ที่จะกล่าวแก้ปัญหาควรกล่าวว่า
“ดูกรท่านทั้งหลาย อันบาลีแห่งพระพุทธเจ้า กล่าวไว้ว่า
ปฐมเบื้องต้น มัชฌิมะเบื้องกลาง ปัจฉิมะเบื้องปลาย
เหตุบาลีว่า อาทิ กัลยาณัง งามในเบื้องต้น
มัชเฌกัลยาณัง งามในท่ามกลาง ปริโยสานกัลยาณัง งามในที่สุด
งามในที่แล้ว (ที่สุด) แห่งศาสนาพระพุทธเจ้า
พระพุทธบาท ๔ รอย จะเจริญรุ่งเรืองงามในท่ามกลางศาสนาจริงแลฯ”
ดังนั้น ก็นับว่า
พระพุทธบาทสี่รอยนี้ เป็นปูชนียสถานที่สำคัญ
เป็นที่สักการบูชามาช้านาน
ถ้าหากว่าผู้ใดมีจิตศรัทธาที่จะขึ้นไปกราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
ก็ควรมีจิตศรัทธาเลื่อมใสศรัทธาในองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เมื่อไปถึงแล้วก็ควรที่จะสำรวม กาย วาจา ใจ ให้เป็นปกติ
ก็ชื่อว่า รักษาศีล ก็ทำให้เกิดสมาธิ มีจิตใจที่ตั้งมั่น ทำให้เกิดปัญญา
และจักได้ชื่อว่าเจริญตามรอยพระพุทธบาทของพระพุทธองค์อย่างแท้จริง
การที่มีคนศรัทธาเดินทางขึ้นไปกราบรอยพระพุทธบาท
ก็เหมือนกับว่ามีดวงจิตดวงใจอยู่ในสมาธิภาวนา
มีพุทธานุสติเกิดขึ้นในจิตใจ
และประกอบไปด้วย ความศรัทธา และความเพียร ขันติ ความอดทน
การที่ขึ้นไปกราบนมัสการรอยพระพุทธบาท
ถนนหนทางไม่สู้จะสะดวกเท่าไร
เป็นทางขึ้นเขาทางเดินแคบ
ขึ้นได้สะดวกก็ช่วงฤดูแล้ง ช่วงฤดูฝนก็ลำบาก
จึงเป็นการวัดถึงจิตใจของพุทธศาสนิกชนว่า
จะมีคนที่ศรัทธาและวิริยะที่จะขึ้นไปกราบไหว้ และสักการะเพียงใด
ถ้าหากว่าใครได้ไปกราบนมัสการรอยพระพุทธบาทแล้ว
ก็นับว่าเป็นสิริมงคล และจะได้รับผลานิสงส์เป็นอย่างมาก
ดังนั้นขอให้พุทธบริษัททั้งหลาย
ดังนั้นขอให้พุทธบริษัททั้งหลาย
ที่ได้มากราบนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย
หรือผู้ที่อ่านหนังสือเกี่ยวกับ
ประวัติความเป็นมา ของพระพุทธบาทสี่รอยแล้ว
ก็ใคร่จะกล่าวกับท่านทั้งหลายว่า
การที่พระพุทธเจ้าทั้งสี่พระองค์
เสด็จมาประทับรอยพระบาทในที่นี้
เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ทั้งหลายให้หลุดพ้นจากกองทุกข์ทั้งหลาย
เพื่อเป็นหนทางไปสู่พระนิพพาน
ดังนั้นการที่เราได้กราบนมัสการรอยพระพุทธบาท
ด้วยเครื่องสักการะบูชา มีดอกไม้ ธูปเทียน
ก็ยังไม่ได้เจริญตามรอยพระบาทของพระพุทธองค์
เพราะพระพุทธองค์ทรงมุ่งหวังให้เราทั้งหลาย
เจริญรอยตามพระพุทธองค์ด้วยการให้ทาน ถือศีล เจริญสมาธิภาวนา
ก็ได้ชื่อว่าเป็นคนหนึ่งที่พระพุทธองค์ทรงโปรดให้พ้นจากกองทุกข์ทั้งหลาย
โดยเฉพาะการเจริญสมาธินั้น
พระพุทธองค์เคยตรัสว่ามีอานิสงส์กว่าการให้ทาน
ซึ่งเป็นหนทางสู่มรรคผลนิพพานโดยแท้จริง
วาระสุดท้ายนี้
ท่านผู้ใดได้อ่านประวัติความเป็นมาของพระพุทธบาทสี่รอยนี้แล้ว
กรุณาใช้ปัญญาพิจารณาให้ถ่องแท้
และให้ถึงศรัทธาในดวงจิตดวงใจ
ให้ระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ก็หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์แก่ท่านพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย
ที่เดินทางขึ้นมากราบพระพุทธบาทสี่รอย
อาตมาขอให้ท่านทั้งหลายที่ได้เดินทางขึ้นมากราบพระพุทธบาทสี่รอยนี้
หรือได้อ่านประวัติพระพุทธบาทสี่รอย
จงประสบแต่ความสุขความเจริญ
ก้าวหน้าใน ทาน ศีล ภาวนา
มีปัญญารู้แจ้งใน อริยสัจสี่
พ้นจากกิเลสกองทุกข์ทั้งหลาย
จงมีแด่ทุกท่านด้วยเทอญ....สาธุ
เจริญกุศลด้วยความนับถือ
ธรรมะ พร และ เมตตา
พระครูพุทธบทเจติยารักษ์
(พระครูบาพรชัย ปิยะวัณโณ)
เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทสี่รอย
แสดงความคิดเห็น